ในวันหยุดพักผ่อนหลายๆคนคงอยากหาสถานที่พักผ่อนไม่ว่าจะเป็นแม่น้ำภูเขาหรือทะเลที่ส่วนใหญ่มักไปเล่นน้ำทะเลในช่วงกลางวัน แต่คุณอาจจะพลาดพบกับความงดงามของทะเลประกายระยิบระยับเรืองแสงในตอนกลางคืนความมหัศจรรย์ของมหาสมุทรตามธรรมชาติ
ปรากฏการณ์ทะเลเรืองแสง (Bioluminescent) ซึ่งเกิดจากแพลงก์ตอน (Plankton) ประเภทที่เรียกว่าไดโนแฟลเจลเลต (Dinoflagellates) สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กเหล่านี้ผลิตสารเคมีที่เรียกว่าลูซิเฟอริน (Luciferin) ผลิตแสงสีน้ำเงินโดยใช้ปฏิกิริยาลูซิเฟอริน-ลูซิเฟอเรส ซึ่งเกี่ยวข้องกับสารเคมีคลอโรฟิลล์ที่พบในพืช
กระบวนการสร้างแสงเรืองแสงเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างตัวเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ลูซิเฟอเรสและออกซิเจน เมื่อพวกมันถูกกระแทกขณะลอยอยู่ในน้ำ ออกซิเจนออกซิไดซ์โมเลกุลลูซิเฟอริน ในขณะที่ลูซิเฟอเรสเร่งปฏิกิริยาและปล่อยพลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของแสงโดยไม่สร้างความร้อน ความเข้มของแสง ความถี่ ระยะเวลา และสีของแสงจะแตกต่างกันไปตามสายพันธุ์ซึ่งเป็นเพียงแสงที่ผลิตขึ้นภายในสิ่งมีชีวิตนั้นแตกต่างกันไป
คริส วิลเลียมส์ (Kris Williams) ช่างภาพที่เชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพทิวทัศน์และการถ่ายภาพดวงดาวกล่าวว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติส่วนใหญ่ การพาตัวเองไปถูกที่ในเวลาที่เหมาะสมถือเป็นความท้าทายครั้งใหญ่ แพลงก์ตอนเรืองแสงนั้นคาดเดาได้ยาก และมักเกิดขึ้นในมหาสมุทร เฉพาะเมื่อกระแสน้ำทำให้พวกมันถูกพัดเข้าหาฝั่งเป็นจำนวนมากเท่านั้น ซึ่งคุณจะสามารถเห็นพวกมันได้จากบนบกด้วยความมุ่งมั่น ความอดทน
ดั๊ก เพอรีน (Doug Perrine) ช่างภาพสัตว์ป่าทางทะเลของมัลดีฟส์ โชคดีพอที่จะได้เห็นปรากฏการณ์นี้หลายครั้ง เขาเล่าถึงช่วงเวลาที่เขาเห็นการเรืองแสงทางชีวภาพในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 2010 ที่มัลดีฟส์ เกาะนี้เหมือนหลุดออกมาจากโปสการ์ดรูปภาพ ใบไม้ในป่าทึบด้านในและหาดทรายยาวล้อมรอบและไม่มีมนุษย์อาศัยอยู่ กลิ่นชวนน้ำลายสอลอยออกมาจากเตาย่างขณะที่ลูกเรือจัดโต๊ะอาหารแบบพกพาบนชายหาดและพระอาทิตย์กำลังตกดินที่เกาะรอบๆมัลดีฟส์ ปรากฏการณ์ทะเลเรืองแสงและเมื่อคลื่นซัดเข้าหาฝั่งทรายหรือเท้าเปล่าเหยียบผืนทรายเปียก แสงสีฟ้าสดใสก็ปรากฏขึ้น
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอาจจะเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในทะเลเพราะแพลงก์ตอนบางชนิดสามารถปล่อยสารพิษออกมาได้แต่ก็ไม่ได้อันตรายมากหรือเกิดปัญหาการเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็วจนทำให้แสงอาทิตย์ไม่สามารถส่องผ่านผิวน้ำลงไปได้ซึ่งจะทำให้มีผลกระทบพืชและสัตว์ใต้น้ำตามมา แต่ผลกระทบที่พบได้บ่อยคือแพลงก์ตอนจับตัวเป็นกลุ่มมากเกินไปบริเวณช่องแคบลงสู่ทะเลในอ่าวที่มีกระแสน้ำอุ่น
หากคุณต้องการดูปรากฏการณ์ทะเลเรืองแสงด้วยตัวเอง มีสถานที่หลายแห่งทั่วโลกที่พวกมันปรากฏอยู่เป็นประจำ โชคดีที่สถานที่ส่วนใหญ่ที่แพลงก์ตอนปรากฏขึ้นก็เป็นจุดหมายปลายทางในวันหยุดที่ดีเช่นกัน มัลดีฟส์มีชื่อเสียงในเรื่องหาดทรายขาวที่ส่องแสงระยิบระยับและเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเลและเกือบทุกเกาะมีแพลงก์ตอนเรืองแสงในช่วงกลางฤดูร้อนจนถึงฤดูหนาวแต่สามารถปรากฏได้ทุกเมื่อ
ซานดิเอโกเป็นอีกสถานที่หนึ่งที่คนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวรายงานว่าเห็นคลื่นที่ซัดเข้าหาฝั่งหรือส่องแสงระยิบระยับเมื่อกระดานโต้คลื่นแหวกคลื่น ประเทศอื่นๆที่มีรายงานการพบเห็นแพลงตอนเรืองแสง ได้แก่ ออสเตรเลีย เวียดนาม เปอร์โตริโก จาเมกา และอีกหลายที่ทั่วโลก
ในประเทศไทยเองก็เคยพบปรากฏการณ์ทะเลเรืองแสงเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นที่ อ่าวต้นไทร เกาะพีพี อ่าวนาง หาดไร่เลย์ อ่าวมาหยา จังหวัดกระบี่ หรือที่บางแสน จังหวัดชลบุรี หรือก็มีคนเคยพบบริเวณสะพานแดง ศาลเจ้าพ่อมัจฉานุ จังหวัดสมุทรสาคร แต่จะการจะสามารถพบเห็นได้หรือไม่นั้นก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆอย่างประกอบกันด้วย
อ้างอิง: Kuoni, Travelcenter, Treehugger
You could definitely see your expertise in the article you write.
The arena hopes for even more passionate writers like you who aren’t afraid to mention how
they believe. All the time go after your heart.
Howdy, I believe your website could possibly be having browser compatibility problems.
Whenever I look at your website in Safari, it looks fine however,
when opening in Internet Explorer, it has some overlapping
issues. I merely wanted to provide you with a quick heads up!
Other than that, great site!
Hey! Would you mind if I share your blog with my facebook group?
There’s a lot of people that I think would really appreciate your content.
Please let me know. Thanks
Absolutly.
If you wish for to get a good deal from this paragraph then you
have to apply such techniques to your won weblog.
Excellent article. I am dealing with some of these issues as well..
My spouse and I stumbled over here different web page and thought I
might check things out. I like what I see so i am just following you.
Look forward to going over your web page repeatedly.
I for all time emailed this weblog post page to all my
associates, since if like to read it after that my contacts will too.
I’m really loving the theme/design of your web site.
Do you ever run into any browser compatibility issues?
A number of my blog readers have complained about my blog not working correctly
in Explorer but looks great in Opera. Do you have any suggestions to help fix this problem?
Thanks a bunch for sharing this with all people
you actually recognise what you’re speaking approximately!
Bookmarked. Please also seek advice from my
site =). We can have a hyperlink trade agreement among us
Excellent post. I used to be checking constantly this weblog and I am impressed!
Very useful info specifically the remaining part
🙂 I care for such information a lot. I was seeking this particular
information for a long time. Thanks and good luck.
Have you ever thought about including a little bit more than just
your articles? I mean, what you say is fundamental and everything.
Nevertheless think about if you added some great graphics
or videos to give your posts more, “pop”! Your content is excellent but with pics and videos, this blog could
certainly be one of the greatest in its niche.
Excellent blog!